พ.ร.บ.ค่าตอบแทนผู้เสียหายในคดีอาญา

พ.ร.บ.ค่าตอบแทนผู้เสียหายในคดีอาญา
จากข่าวเหตุรถบัสพานักเรียนไปทัศนศึกษาเกิดอุบัติเหตุแน่นอนว่าจากเหตุการณ์ดังกล่าวผู้เสียหายผู้เสียชีวิตย่อมต้องได้รับการเยียวยาอย่างจากเหตุที่เกิดขึ้น

ในบทความนี้ทางทนายโตนและทีมงานจะอธิบายเกี่ยวพ.ร.บ.ค่าตอบแทนผู้เสียหายในคดีอาญา

พนักงานสอบสวนจะต้องแจ้งสิทธิต่อผู้เสียหายหรือทายาทที่ได้รับความเสียหายมาจากการร้องทุกข์ดังกล่าวเพื่อที่จะให้ผู้เสียหายนั้น

หากคดีที่อัยการเป็นโจทก์ฟ้อง และศาลมีคำสั่งอนุญาติให้ถอนฟ้อง หรือศาลมีคำพิพากษาให้ยกฟ้อง และจำเลยถูกคุมขังเจ้าพนักงานที่มีหน้าที่ปล่อยตัวจำเลยต้องแจ้งสิทธิดังกล่าวให้

คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญาจะเป็นผุ้สั่งจ่ายค่าชดเชยดังกล่าวนี้

โดยในระดับชาติในส่วนกล่างจะมีปลัดกระทรวงยุติธรรมเป็นประธานส่วนในระดับจังหวัดแต่ละจังหวัดผู้ว่าราชการจังหวัดจะเป็นประธาน

ผู้เสียหาย จำเลย ทายาทที่ได้รับความเสียหายต้องยื่นคำขอค่าทดแทนภายในกรอบระยะเวลาคือ1ปีนับแต่วันที่ผู้เสียหายได้รู้ถึงการกระทำความผิดหรือวันที่ศาลมีคำสั่งอนุญาติให้ถอนฟ้องหรือวันที่มีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าข้อเท็จจริงนั้นๆได้ฟังเป็นที่ยุติว่าจำเลยไม่ได้เป็นผู้กระทำความผิดหรือการกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิด

หมายเหตุ

คำว่าค่าตอบแทนหมายถึง เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่ผู้เสียหายมีสิทธิได้รับเพื่อตอบแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีการกระทำความผิดอาญาของผู้อื่น

กฎหมายฉบับนี้เป็นสิ่งที่สะท้อนหลักประกันสิทธิมนุษยชนสากลตามปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทะิมนุษยชนของไทยว่าอย่างน้อยๆรัฐก็มีกลไกบางอย่างในการพิทักษ์ไว้ซึ่งสิทธิและเยียวยาให้ประชาชน

ทนายโตน

ทนายคดีแพ่งนิติกรรมสัญญาคดีอาญาคดีปกครองคดีอาญาทุจริตประพฤติมิชอบ

อ้างอิง

พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา

ใส่ความเห็น